วันจันทร์ที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2561

รายชื่อสมาชิกผู้จัดทำ

บล็อกนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาการเงินธุรกิจ 
คณะเทคโนโลยีการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์
จัดทำโดย
1.นางสาวณัฏฐนิชา วรรณบุตร
2.นางสาวมะลิสา สิริรจน์
3.นางสาวนิรมล พรรณา 
4.นางสาวอินทิรา ชูเส้นผม
5.นางสาวศิรดา ทาทอง
6.นางสาวพลอยพัชรินทร์ นามเวช
7.นางสาวปวีณา ศาลางาม
8.นางสาวกัญญารัตน์ ศรีคุณ
9.นางสาวสุกัญญา สุดฉลาด
นักศึกษาเรียนวันจันทร์-เช้า
เสนอ
อาจารย์อารยา อึงไพบูลย์กิจ

16 ความคิดเห็น:

  1. การเงินระหว่างประเทศ

    การเงินระหว่างประเทศเกิดขึ้นเนื่องจากระบบเศรษฐกิจของประเทศต่างๆ เป็นระบบเศรษฐกิจแบบเปิดทำให้เกิดการค้าระหว่างประเทศขึ้น ส่งผลทำให้แต่ละประเทศจำเป็นต้องกำหนดระบบการเงินของประเทศตนเองให้สอดคล้องกับอารยประเทศ และเพื่อให้การค้าระหว่างประเทศสามารถดำเนินไปได้อย่างสะดวกราบรื่น จึงก่อให้เกิดตลาดการเงินระหว่างประเทศขึ้นเพื่อเอื้ออำนวยความสะดวกในด้านต่างๆ

    ตราสารทางการเงินในตลาดระหว่างประเทศ

    ในปัจจุบันตราสารทางการเงินในตลาดการเงินระหว่างประเทศ ได้มีการพัฒนารูปแบบของสินค้าใหม่ ๆและมีความหลากหลายมากขึ้น ทั้งในเรื่องของอัตราผลตอบแทน ความเสี่ยง ระยะเวลาในการลงทุน ระยะเวลาในการจ่ายผลตอบแทน สภาพคล่อง เงื่อนไขในการไถ่ถอน ผู้ออกตราสาร รวมทั้งสกุลเงินตราที่ใช้ในการลงทุน เป็นต้น สามารถแบ่งตามประเภทที่ออกได้ ดังนี้
    1.ตราสารทุน
    2.ตราสารหนี้
    3.ตราสารกึ่งหนี้กึ่งทุน
    4.ตราสารอนุพันธ์

    ตลาดการเงินระหว่างประเทศ
    ตลาดการเงินได้แบ่งแยกออกเป็น 2 ตลาด คือตลาดเงินและตลาดทุน ตลาดการเงินระหว่างประเทศก็มีลักษณะเช่นเดียวกันคือ แบ่งแยกออกเป็น 2 ตลาดคือตลาดเงินระหว่างประเทศและตลาดทุนระหว่างประเทศ. (นางสาวจริดา บุญภา เลขที่ 10 กลุ่มเรียนวันจันทร์-เช้า)

    ตอบลบ
  2. การเงินระหว่างประเทศ การเงินระหว่างประเทศเกิดขึ้นเนื่องจากระบบเศรษฐกิจของประเทศต่างๆ เป็นระบบเศรษฐกิจแบบเปิดทำให้เกิดการค้าระหว่างประเทศขึ้น ส่งผลทำให้แต่ละประเทศจำเป็นต้องกำหนดระบบการเงินของประเทศตนเองให้สอดคล้องกับอารยประเทศ และเพื่อให้การค้าระหว่างประเทศสามารถดำเนินไปได้อย่างสะดวกราบรื่น จึงก่อให้เกิดตลาดการเงินระหว่างประเทศขึ้นเพื่อเอื้ออำนวยความสะดวกในด้านต่างๆ ซึ่งตลาดการเงินระหว่างประเทศสามารถจำแนกออกได้เป็น 2 ตลาด คือตลาดเงินและตลาดทุนระหว่างประเทศ นอกจากจะมีตลาดการเงินระหว่างประเทศแล้ว ยังได้มีการจัดตั้งสถาบันการเงินระหว่างประเทศ ซึ่งสถาบันการเงินระหว่างประเทศมีความแตกต่างจากสถาบันการเงินภายในประเทศ คือ สถาบันการเงินเหล่านี้จะทำหน้าที่ ได้ด้านการให้ความช่วยเหลือและสนับสนุนแก่กลุ่มประเทศที่กำลังพัฒนาหรือประเทศที่กำลังประสบปัญหาทางเศรษฐกิจเป็นสำคัญ

    นางสาวชนิตา หวังสุข เลขที่14 กลุ่มเรียนจันทร์-เช้า

    ตอบลบ
  3. การเงินระหว่างประเทศเกิดขึ้นเนื่องจากระบบเศรษฐกิจของประเทศต่างๆ เป็นระบบเศรษฐกิจแบบเปิดทำให้เกิดการค้าระหว่างประเทศขึ้น ส่งผลทำให้แต่ละประเทศจำเป็นต้องกำหนดระบบการเงินของประเทศตนเองให้สอดคล้องกับอารยประเทศ และเพื่อให้การค้าระหว่างประเทศสามารถดำเนินไปได้อย่างสะดวกราบรื่น จึงก่อให้เกิดตลาดการเงินระหว่างประเทศขึ้นเพื่อเอื้ออำนวยความสะดวกในด้านต่างๆ ซึ่งตลาดการเงินระหว่างประเทศสามารถจำแนกออกได้เป็น 2 ตลาด คือตลาดเงินและตลาดทุนระหว่างประเทศ
    นางสาวสุพรรษา เวียงวัฒนชัย เลขที่ 13 กลุ่มวันจันทร์-เช้า

    ตอบลบ
  4. การเงินระหว่างประเทศ

    การเงินระหว่างประเทศเกิดขึ้นเนื่องจากระบบเศรษฐกิจของประเทศต่างๆ เป็นระบบเศรษฐกิจแบบเปิดทำให้เกิดการค้าระหว่างประเทศขึ้น ส่งผลทำให้แต่ละประเทศจำเป็นต้องกำหนดระบบการเงินของประเทศตนเองให้สอดคล้องกับอารยประเทศ และเพื่อให้การค้าระหว่างประเทศสามารถดำเนินไปได้อย่างสะดวกราบรื่น จึงก่อให้เกิดตลาดการเงินระหว่างประเทศขึ้นเพื่อเอื้ออำนวยความสะดวกในด้านต่างๆ ซึ่งตลาดการเงินระหว่างประเทศสามารถจำแนกออกได้เป็น 2 ตลาด คือตลาดเงินและตลาดทุนระหว่างประเทศ นอกจากจะมีตลาดการเงินระหว่างประเทศแล้ว ยังได้มีการจัดตั้งสถาบันการเงินระหว่างประเทศ ซึ่งสถาบันการเงินระหว่างประเทศมีความแตกต่างจากสถาบันการเงินภายในประเทศ คือ สถาบันการเงินเหล่านี้จะทำหน้าที่ ได้ด้านการให้ความช่วยเหลือและสนับสนุนแก่กลุ่มประเทศที่กำลังพัฒนาหรือประเทศที่กำลังประสบปัญหาทางเศรษฐกิจเป็นสำคัญ
    นางสาวเพ็ญนิภา ต้นทอง เลขที่ 11 กลุ่มวันจันทร์-เช้า

    ตอบลบ
  5. 5.2
    การเงินระหว่างประเทศเกิดขึ้นเนื่องจากระบบเศรษฐกิจของประเทศต่างๆ เป็นระบบเศรษฐกิจแบบเปิดทำให้เกิดการค้าระหว่างประเทศขึ้น ส่งผลทำให้แต่ละประเทศจำเป็นต้องกำหนดระบบการเงินของประเทศตนเองให้สอดคล้องกับอารยประเทศ
    ดุลการชำระเงินระหว่างประเทศจะประกอบไปด้วย
    (1) ดุลบัญชีเดินสะพัด ดุลบัญชีเดินสะพัดยังสามารถแยกย่อยออกได้เป็น
    (1.1) ดุลการค้า
    (1.2) ดุลบริการ
    (2) ดุลการเคลื่อนย้ายเงินทุน
    (3) ดูเงินโอน
    (4) ดุลเงินทุนสำรองทางราชการ
    ตราสารทางการเงินในตลาดระหว่างประเทศสามารถแบ่งตามประเภทที่ออกได้ ดังนี้
    1.ตราสารทุน (Equity Instrument)
    2.ตราสารหนี้ (Debt instrument)
    3.ตราสารกึ่งหนี้กึ่งทุน (Hybrid instrument)
    4.ตราสารอนุพันธ์
    นางสาว สุนทรี ล้อมนาค เลขที่35 กลุ่มเรียน วันจันทร์-เช้า

    ตอบลบ
  6. การเงินระหว่างประเทศ
    การเงินระหว่างประเทศเกิดขึ้นเนื่องจากระบบเศรษฐกิจของประเทศต่างๆ เป็นระบบเศรษฐกิจแบบเปิดทำให้เกิดการค้าระหว่างประเทศขึ้น ส่งผลทำให้แต่ละประเทศจำเป็นต้องกำหนดระบบการเงินของประเทศตนเองให้สอดคล้องกับอารยประเทศ และเพื่อให้การค้าระหว่างประเทศสามารถดำเนินไปได้อย่างสะดวกราบรื่น
    ดุลการชำระเงิน
    ดุลการชำระเงินระหว่างประเทศ หมายถึง มูลค่าสุทธิระหว่างการรับและการจ่าย ที่เกิดขึ้นเนื่องจากการดำเนินการทางเศรษฐกิจของหน่วยเศรษฐกิจในประเทศหนึ่งประเทศใด กับหน่วยเศรษฐกิจของต่างประเทศประเทศในช่วงระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง โดยปกติจะเป็นเวลาหนึ่งปี อย่างไรก็ตามดุลการชำระเงินระหว่างประเทศจะประกอบไปด้วย
    (1) ดุลบัญชีเดินสะพัด ดุลบัญชีเดินสะพัดยังสามารถแยกย่อยออกได้เป็น
    (1.1) ดุลการค้า
    (1.2) ดุลบริการ
    (2) ดุลการเคลื่อนย้ายเงินทุน เป็นบุญของปริมาณเงินทุนที่ไหลเข้าและเงินทุนที่ไหลออก เงินทุนที่ไหลเข้าอาจจะประกอบไปด้วย เงินลงทุนของชาวต่างประเทศ หรือเงินกู้ยืมส่วนเงินทุนไหลออกอาจจะประกอบไปด้วยการลงทุนในต่างประเทศของนักลงทุนประเทศนั้นหรือ การชำระหนี้เงินกู้และดอกเบี้ยจ่าย
    (3) ดูเงินโอน หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งคือ ดุลเงินบริจาค เป็นดุล การเงินที่ได้รับจากการให้ความช่วยเหลือแบบให้เปล่า เปรียบเทียบกับปริมาณเงินที่ประเทศนั้นๆ ให้ความช่วยเหลือกับประเทศอื่นในลักษณะการให้เปล่าเช่นกัน
    (4) ดุลเงินทุนสำรองทางราชการ เป็นดุลที่ทางการของประเทศเตรียมไว้เพื่อปรับให้ดุลการชำระเงินของประเทศให้มีความสมดุลที่กล่าวคือ หาประเทศมีดุลบัญชีเดินสะพัดรวมกับดุลการเคลื่อนย้ายเงินทุนและทุนเงินโดยขาดดุล ทางการของประเทศนั้นจะต้องดำเนินด้านใดด้านหนึ่งที่จะทำให้สามารถนำเงินมาชดเชยในส่วนที่ขาดไป
    ปิยะเนตร เอ็นยอด เลขที่ 29 กลุ่มเรียนจันทร์เช้า

    ตอบลบ
  7. การเงินระหว่างประเทศเกิดขึ้นเนื่องจากระบบเศรษฐกิจของประเทศต่างๆ เป็นระบบเศรษฐกิจแบบเปิดทำให้เกิดการค้าระหว่างประเทศขึ้น ส่งผลทำให้แต่ละประเทศจำเป็นต้องกำหนดระบบการเงินของประเทศตนเองให้สอดคล้องกับอารยประเทศ และเพื่อให้การค้าระหว่างประเทศสามารถดำเนินไปได้อย่างสะดวกราบรื่น จึงก่อให้เกิดตลาดการเงินระหว่างประเทศขึ้นเพื่อเอื้ออำนวยความสะดวกในด้านต่างๆ ซึ่งตลาดการเงินระหว่างประเทศสามารถจำแนกออกได้เป็น 2 ตลาด คือตลาดเงินและตลาดทุนระหว่างประเทศ นอกจากจะมีตลาดการเงินระหว่างประเทศแล้ว ยังได้มีการจัดตั้งสถาบันการเงินระหว่างประเทศ ซึ่งสถาบันการเงินระหว่างประเทศมีความแตกต่างจากสถาบันการเงินภายในประเทศ คือ สถาบันการเงินเหล่านี้จะทำหน้าที่ ได้ด้านการให้ความช่วยเหลือและสนับสนุนแก่กลุ่มประเทศที่กำลังพัฒนาหรือประเทศที่กำลังประสบปัญหาทางเศรษฐกิจเป็นสำคัญ
    นางสาวปวีณา ศาลางาม เลขที่24 กลุ่มเรียนวันจันทร์เช้า

    ตอบลบ
  8. ตราสารทางการเงินในตลาดระหว่างประเทศ
    ตราสารทุน (Equity Instrument)
    ตราสารทุนที่มีการซื้อขายกันในตลาดระหว่างประเทศประกอบด้วย 2 ประเภทที่สำคัญ ได้แก่ หุ้นสามัญ (Common stocks) หุ้นบุริมสิทธิ (Preferred stocks)
    ตราสารหนี้ (Debt instrument) คือ ตราสารที่แสดงความเป็นหนี้ระหว่างกัน โดยผู้ออกตราสารหนี้ระดมเงินหรือกู้ยืมเงินจากผู้ซื้อตราสารและมีสัญญาจะจ่ายคืนเมื่อครบกำหนดเวลา รวมทั้งจ่ายดอกเบี้ยเป็นงวดๆจำนวนหนึ่งตามเงื่อนไขที่ระบุไว้ ตราสารหนี้ระหว่างประเทศมีความหลากหลายทั้งผู้ออกและมีสินค้าให้เลือกลงทุนจำนวนมาก ตราสารหนี้ที่สำคัญ ได้แก่ ตราสารหนี้ยูโร (Eurobond) ตราสารหนี้ในประเทศกำลังพัฒนา เช่น จีน และ อินเดีย เป็นต้น โดยทั่วไปตราสารหนี้แบ่งตามประเภทผู้ออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ได้แก่ ตราสารหนี้ที่ออกโดยภาครัฐ และตราสารหนี้ที่ออกโดยภาคเอกชน
    ตราสารกึ่งหนี้กึ่งทุน (Hybrid Instrument)
    ตราสารกึ่งหนี้กึ่งทุนเป็นตราสารทางการเงินที่ออกครั้งแรกเป็นตราสารหนี้ แต่มีเงื่อนไขให้ผู้ถือสามารถแปลงสภาพเป็นหุ้นสามัญหรือหุ้นบุริมสิทธิ ซึ่งเป็นตราสารทุนของบริษัทผู้ออกได้ในช่วงเวลา อัตรา และราคาที่กำหนดไว้ ตัวอย่างของตราสารประเภทนี้ เช่น หุ้นกู้แปลงสภาพ ( Convertible debenture ) หุ้นกู้พร้อมใบสำคัญแสดงสิทธิ (Debenture with warrants) เป็นต้น
    นางสาวสุพิชฌาย์ บุญเลิศ เลขที่ 41 กลุ่มเรียนวันจันทร์-เช้า

    ตอบลบ
  9. ตราสารทางการเงินในตลาดระหว่างประเทศ
    ตราสารทุน (Equity Instrument)
    ตราสารทุนที่มีการซื้อขายกันในตลาดระหว่างประเทศประกอบด้วย 2 ประเภทที่สำคัญ ได้แก่ หุ้นสามัญ (Common stocks) หุ้นบุริมสิทธิ (Preferred stocks)
    ตราสารหนี้ (Debt instrument) คือ ตราสารที่แสดงความเป็นหนี้ระหว่างกัน โดยผู้ออกตราสารหนี้ระดมเงินหรือกู้ยืมเงินจากผู้ซื้อตราสารและมีสัญญาจะจ่ายคืนเมื่อครบกำหนดเวลา รวมทั้งจ่ายดอกเบี้ยเป็นงวดๆจำนวนหนึ่งตามเงื่อนไขที่ระบุไว้ ตราสารหนี้ระหว่างประเทศมีความหลากหลายทั้งผู้ออกและมีสินค้าให้เลือกลงทุนจำนวนมาก ตราสารหนี้ที่สำคัญ ได้แก่ ตราสารหนี้ยูโร (Eurobond) ตราสารหนี้ในประเทศกำลังพัฒนา เช่น จีน และ อินเดีย เป็นต้น โดยทั่วไปตราสารหนี้แบ่งตามประเภทผู้ออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ได้แก่ ตราสารหนี้ที่ออกโดยภาครัฐ และตราสารหนี้ที่ออกโดยภาคเอกชน
    ตราสารกึ่งหนี้กึ่งทุน (Hybrid Instrument)
    ตราสารกึ่งหนี้กึ่งทุนเป็นตราสารทางการเงินที่ออกครั้งแรกเป็นตราสารหนี้ แต่มีเงื่อนไขให้ผู้ถือสามารถแปลงสภาพเป็นหุ้นสามัญหรือหุ้นบุริมสิทธิ ซึ่งเป็นตราสารทุนของบริษัทผู้ออกได้ในช่วงเวลา อัตรา และราคาที่กำหนดไว้ ตัวอย่างของตราสารประเภทนี้ เช่น หุ้นกู้แปลงสภาพ ( Convertible debenture ) หุ้นกู้พร้อมใบสำคัญแสดงสิทธิ (Debenture with warrants) เป็นต้น
    พลอยพัชรินทร์ นามเวช เลขที่ 25 กลุ่มเรียน วันจันทร์-เช้า

    ตอบลบ
  10. การเงินระหว่างประเทศ
    เศรษฐกิจระหว่างประเทศทำให้มีกระแสหมุนเวียนของสินค้า บริการ ปัจจัยการผลิต สินทรัพย์ และเงินตราระหว่างหน่วยเศรษฐกิจทั่วไปทั้งในและนอกประเทศ ประเมินค่าการแลกเปลี่ยนทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ กระทำโดยการวัดกระแสเงินตราที่เข้าหรือออกจากประเทศ
    อัตราการแลกเปลี่ยน
    เงินตราระหว่างประเทศ มี 2 ระบบ คือ ระบบคงที่และระบบลอยตัว
    ดุลการชำระเงินระหว่างประเทศจะประกอบไปด้วย
    (1) ดุลบัญชีเดินสะพัด ดุลบัญชีเดินสะพัดยังสามารถแยกย่อยออกได้เป็น
    (1.1) ดุลการค้า
    (1.2) ดุลบริการ
    (2) ดุลการเคลื่อนย้ายเงินทุน
    (3) ดูเงินโอน
    (4) ดุลเงินทุนสำรองทางราชการ
    ตราสารทางการเงินในตลาดระหว่างประเทศสามารถแบ่งตามประเภทที่ออกได้ ดังนี้
    1.ตราสารทุน (Equity Instrument)
    2.ตราสารหนี้ (Debt instrument)
    3.ตราสารกึ่งหนี้กึ่งทุน (Hybrid instrument)
    4.ตราสารอนุพันธ์
    นางสาวณัฏฐนิชา วรรณบุตร เลขที่27 จันทร์-เช้า

    ตอบลบ
  11. 5.2
    การเงินระหว่างประเทศ

    การเงินระหว่างประเทศเกิดขึ้นเนื่องจากระบบเศรษฐกิจของประเทศต่างๆ เป็นระบบเศรษฐกิจแบบเปิดทำให้เกิดการค้าระหว่างประเทศขึ้น ส่งผลทำให้แต่ละประเทศจำเป็นต้องกำหนดระบบการเงินของประเทศตนเองให้สอดคล้องกับอารยประเทศ และเพื่อให้การค้าระหว่างประเทศสามารถดำเนินไปได้อย่างสะดวกราบรื่น จึงก่อให้เกิดตลาดการเงินระหว่างประเทศขึ้นเพื่อเอื้ออำนวยความสะดวกในด้านต่างๆ ซึ่งตลาดการเงินระหว่างประเทศสามารถจำแนกออกได้เป็น 2 ตลาด คือตลาดเงินและตลาดทุนระหว่างประเทศ นอกจากจะมีตลาดการเงินระหว่างประเทศแล้ว ยังได้มีการจัดตั้งสถาบันการเงินระหว่างประเทศ ซึ่งสถาบันการเงินระหว่างประเทศมีความแตกต่างจากสถาบันการเงินภายในประเทศ คือ สถาบันการเงินเหล่านี้จะทำหน้าที่ ได้ด้านการให้ความช่วยเหลือและสนับสนุนแก่กลุ่มประเทศที่กำลังพัฒนาหรือประเทศที่กำลังประสบปัญหาทางเศรษฐกิจเป็นสำคัญ (นางสาวจุฑาภรณ์ หาญอาษา เลขที่2 จันทร์-เช้า)

    ตอบลบ
  12. ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ

    ตอบลบ
  13. การเงินระหว่างประเทศเกิดขึ้นเนื่องจากระบบเศรษฐกิจของประเทศต่างๆ เป็นระบบเศรษฐกิจแบบเปิดทำให้เกิดการค้าระหว่างประเทศขึ้น ส่งผลทำให้แต่ละประเทศจำเป็นต้องกำหนดระบบการเงินของประเทศตนเองให้สอดคล้องกับอารยประเทศ และเพื่อให้การค้าระหว่างประเทศสามารถดำเนินไปได้อย่างสะดวกราบรื่น จึงก่อให้เกิดตลาดการเงินระหว่างประเทศขึ้นเพื่อเอื้ออำนวยความสะดวกในด้านต่างๆ ซึ่งตลาดการเงินระหว่างประเทศสามารถจำแนกออกได้เป็น 2 ตลาด คือตลาดเงินและตลาดทุนระหว่างประเทศ
    1. ตลาดเงินระหว่างประเทศ เป็นตลาดที่เกิดขึ้นมาเนื่องจากระบบการค้าขายที่มีการติดต่อซื้อขายสินค้าและบริการระหว่างประเทศ รวมถึงการให้กู้ยืมกันแต่เนื่องจากแต่ละประเทศมีสกุลเงินตราเป็นของตนเอง
    2. ตลาดเงินระหว่างประเทศ
    ตลาดทุนระหว่างประเทศหมายถึง ศูนย์รวมของกิจกรรม ระหว่างประเทศที่ดำเนินกิจกรรมในด้านการซื้อขายสินทรัพย์ทางการเงินที่มีอายุการไถ่ถอนมากกว่า 1 ปี
    (น.ส สุกัญญา สุดฉลาด กลุ่มเรียนวันจันทร์-เช้า เลขที่ 6)

    ตอบลบ
  14. ศิรดา ทาทอง 30 จันทร์ เช้า

    การเงินระหว่างประเทศเกิดขึ้นเนื่องจากระบบเศรษฐกิจของประเทศต่างๆ เป็นระบบเศรษฐกิจแบบเปิดทำให้เกิดการค้าระหว่างประเทศขึ้น ส่งผลทำให้แต่ละประเทศจำเป็นต้องกำหนดระบบการเงินของประเทศตนเองให้สอดคล้องกับอารยประเทศ และเพื่อให้การค้าระหว่างประเทศสามารถดำเนินไปได้อย่างสะดวกราบรื่น จึงก่อให้เกิดตลาดการเงินระหว่างประเทศขึ้นเพื่อเอื้ออำนวยความสะดวกในด้านต่างๆ ซึ่งตลาดการเงินระหว่างประเทศสามารถจำแนกออกได้เป็น 2 ตลาด คือตลาดเงินและตลาดทุนระหว่างประเทศ นอกจากจะมีตลาดการเงินระหว่างประเทศแล้ว ยังได้มีการจัดตั้งสถาบันการเงินระหว่างประเทศ ซึ่งสถาบันการเงินระหว่างประเทศมีความแตกต่างจากสถาบันการเงินภายในประเทศ คือ สถาบันการเงินเหล่านี้จะทำหน้าที่ ได้ด้านการให้ความช่วยเหลือและสนับสนุนแก่กลุ่มประเทศที่กำลังพัฒนาหรือประเทศที่กำลังประสบปัญหาทางเศรษฐกิจเป็นสำคัญ

    ตอบลบ
  15. ไม่ระบุชื่อ17 ตุลาคม 2561 เวลา 21:34

    เงินตราต่างประเทศ หมายถึง เงินตราของประเทศอื่น ๆ ซึ่งไม่ใช่เงินตราสกุลของประเทศตนเอง
    ระบบอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ระบบอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศจำแนกเป็น 2 ระบบ
    1 ระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบคงที่
    2 ระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัว
    ตลาดการเงินระหว่างประเทศจำแนกตามลักษณะของการระดมเงินทุนเป็น 3 ประเภทเช่นเดียวกับตลาดการเงินในประเทศ คือ 1ตลาดเงินระหว่างประเทศ
    เป็นแหล่งระดมเงินทุนระยะสั้นที่มีอายุไม่เกิน 1 ปีตลาดเงินระหว่างประเทศที่สำคัญคือตลาดเงินตราต่างประเทศ และตลาดแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ
    2 ตลาดทุนระหว่างประเทศ
    คือแหล่งระดมเงินทุนระยะยาวเกิน 1 ปีโดยผู้ให้กู้ชื่อตราสารทางการเงินที่จำหน่ายในตลาดการเงินต่างประเทศโดยตรงหรือซื้อผ่านสถาบันการเงินในประเทศหรือฝากเงินกับสถาบันการเงินในประเทศที่ให้สินเชื่อทั้งในประเทศและต่างประเทศส่วนผู้กู้ออกตราสารทางการเงินจำหน่ายให้ผู้ให้กู้ในต่างประเทศโดยตรงหรือใช้เงินทุนต่างประเทศผ่านสถาบันการเงินในประเทศตราสารทางการเงินประเภทตราสารหนี้คือหุ้นกู้หรือพันธบัตรประเภทตราสารทุนคือหุ้นสามัญและตราสารอนุพันธ์ ได้แก่ Future Option และ Swap โดยซื้อขายผ่านตลาดรองคือตลาดหลักทรัพย์ของประเทศที่เป็นศูนย์กลางทางการเงินระหว่างประเทศตลาดหลักทรัพย์ที่สำคัญ
    3 ตลาดอนุพันธ์ระหว่างประเทศ
    ตราสารอนุพันธ์ระหว่างประเทศจำแนกได้เช่นเดียวกับตราสารอนุพันธ์ในประเทศคือสัญญา Future Option และ Swap โดยที่สินทรัพย์อ้างอิงจะเป็นเงินตรา ได้แก่ foreign Currency Future foreign Currency Option และ foreign Currency Swap ศูนย์กลางการเงินที่สำคัญของโลกได้ก่อตั้งตลาดสัญญาฟิวเจอร์เงินตรา (foreign Currency future market) ขึ้นที่สำคัญคือ the International Monetary Market: IMM ณ นครชิคาโกสหรัฐอเมริกา

    ตราสารทางการเงินระหว่างประเทศ
    ประกอบด้วยตราสารหนี้ตราสารทุนและตราสารอนุพันธ์เช่นเดียวกับตราสารทางการเงินในประเทศตราสารหนี้ในตลาดเงินระหว่างประเทศที่สำคัญคือตัวเงินยูโร (Euro note) ตราสารพาณิชย์ยูโร (Euro-Commercial paper: ECP) และตราสารทางการเงินในตลาดทุนระหว่างประเทศส่วนใหญ่เป็นตราสารหนี้ระยะยาวและตราสารอนุพันธ์ตราสารหนี้ระยะยาวที่สำคัญคือ Foreign Bond, Euro Bond และ Global Bond
    1) Foreign Bond เป็นตราสารหนี้ที่ออกเป็นสกุลเงินตราเดียวกันกับประเทศที่ออกขายโดยหน่วยงานของอีกประเทศหนึ่งซึ่งอาจเป็นหน่วยงานภาครัฐสถาบันการเงินองค์กรธุรกิจภาคเอกชนขนาดใหญ่หรือบริษัทข้ามชาติ Foreign Bond จะต้องอยู่ภายใต้กฎหมายของประเทศที่เป็นเจ้าของสกุลเงินตรานั้น ๆ ตัวอย่างของ Foreign Bond
    2) Euro Bond เป็นตราสารหนี้ระยะยาวที่ออกเป็นสกุลเงินตราที่ไม่ใช่สกุลเงินตราของประเทศที่ออกและขายในประเทศต่าง ๆ ที่ไม่ใช่เจ้าของสกุลเงินตรานั้นโดยทั่วไปจะขายในตลาดทุนระหว่างประเทศตัวอย่าง Euro Bond
    3) Global Bond มีลักษณะคล้ายคลึงกับ Euro Bond แต่ออกขายได้ทั่วไปทั้งในประเทศของตนเองและต่างประเทศหรือทั่วโลกนั่นเอง
    (นางสาววิจิตรา สมเกศ เลขที่ 33 กลุ่มเรียน จันทร์-เช้า)

    ตอบลบ
  16. การเงินระหว่างประเทศ
    การเงินระหว่างประเทศเกิดขึ้นเนื่องจากระบบเศรษฐกิจของประเทศต่างๆ เป็นระบบเศรษฐกิจแบบเปิดทำให้เกิดการค้าระหว่างประเทศขึ้น ส่งผลทำให้แต่ละประเทศจำเป็นต้องกำหนดระบบการเงินของประเทศตนเองให้สอดคล้องกับอารยประเทศ และเพื่อให้การค้าระหว่างประเทศสามารถดำเนินไปได้อย่างสะดวกราบรื่น
    ดุลการชำระเงิน
    ดุลการชำระเงินระหว่างประเทศ หมายถึง มูลค่าสุทธิระหว่างการรับและการจ่าย ที่เกิดขึ้นเนื่องจากการดำเนินการทางเศรษฐกิจของหน่วยเศรษฐกิจในประเทศหนึ่งประเทศใด กับหน่วยเศรษฐกิจของต่างประเทศประเทศในช่วงระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง โดยปกติจะเป็นเวลาหนึ่งปี อย่างไรก็ตามดุลการชำระเงินระหว่างประเทศจะประกอบไปด้วย
    (1) ดุลบัญชีเดินสะพัด ดุลบัญชีเดินสะพัดยังสามารถแยกย่อยออกได้เป็น
    (1.1) ดุลการค้า
    (1.2) ดุลบริการ
    (2) ดุลการเคลื่อนย้ายเงินทุน เป็นบุญของปริมาณเงินทุนที่ไหลเข้าและเงินทุนที่ไหลออก เงินทุนที่ไหลเข้าอาจจะประกอบไปด้วย เงินลงทุนของชาวต่างประเทศ หรือเงินกู้ยืมส่วนเงินทุนไหลออกอาจจะประกอบไปด้วยการลงทุนในต่างประเทศของนักลงทุนประเทศนั้นหรือ การชำระหนี้เงินกู้และดอกเบี้ยจ่าย
    (3) ดูเงินโอน หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งคือ ดุลเงินบริจาค เป็นดุล การเงินที่ได้รับจากการให้ความช่วยเหลือแบบให้เปล่า เปรียบเทียบกับปริมาณเงินที่ประเทศนั้นๆ ให้ความช่วยเหลือกับประเทศอื่นในลักษณะการให้เปล่าเช่นกัน
    (4) ดุลเงินทุนสำรองทางราชการ เป็นดุลที่ทางการของประเทศเตรียมไว้เพื่อปรับให้ดุลการชำระเงินของประเทศให้มีความสมดุลที่กล่าวคือ หาประเทศมีดุลบัญชีเดินสะพัดรวมกับดุลการเคลื่อนย้ายเงินทุนและทุนเงินโดยขาดดุล ทางการของประเทศนั้นจะต้องดำเนินด้านใดด้านหนึ่งที่จะทำให้สามารถนำเงินมาชดเชยในส่วนที่ขาดไป
    นางสาวเปรมกมล เกษรชื่น เลขที่12 กลุ่มเรียน จันทร์-เช้า

    ตอบลบ