วันจันทร์ที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2561

สกุลเงินตราต่างประเทศ


สกุลเงินตราที่ใช้ในปัจจุบัน


สกุลเงินสัญลักษณ์รหัสตัวเลขชื่อประเทศ
AEDد.إ784เดอร์แฮมสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
  • สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
AFNAf971อัฟกานี
  • อัฟกานิสถาน
ALLL008เลค
  • แอลเบเนีย
AMDԴ051ดรัมอาร์มาเนีย
  • อาร์มาเนีย
AOAKz973กวันซา
  • แองโกลา
ARS$032เปโซอาร์เจนตินา
  • อาร์เจนตินา
AUD$036ดอลลาร์ออสเตรเลีย
  • ออสเตรเลีย
  • คิริบาตี
  • เกาะมะพร้าว
  • นาอูรู
  • ตูวาลู
AWGƒ533โฟลรินอารูบา
  • อารูบา
AZNман944มานัตอาเซอร์ไบจาน
  • อาเซอร์ไบจาน
BAMКМ977คอนเวร์ทีบิลนามาร์ค
  • บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา
BBD$052ดอลลาร์บาร์เบโดส
  • บาร์เบโดส
BDT050ตากา
  • บังกลาเทศ
BGNлв975เลฟบัลแกเรีย
  • บัลแกเรีย
BHDب.د048ดีนาร์บาห์เรน
  • บาห์เรน
BIF108ฟรังก์บุรุนดี
  • บุรุนดี
BMD$060ดอลลาร์เบอร์มิวดา
  • เบอร์มิวดา
BND$096ดอลลาร์บรูไน
  • บรูไน
  • สิงคโปร์
BOBBs.068โบลีเวียโน
  • โบลีเวีย
BRLR$986เรอัลบราซิล
  • บราซิล
BSD$044ดอลลาร์บาฮามาส
  • บาฮามาส
BTN064งุลตรัม
  • ภูฏาน
BWPP072ปูลา
  • บอตสวานา
BYRBr974รูเบิลเบลารุส
  • เบลารุส
BZD$084ดอลลาร์เบลีซ
  • เบลีซ
CAD$124ดอลลาร์แคนาดา
  • แคนาดา
CDF976ฟรังก์คองโก
  • คองโก (กวันซาแองโกลา)
CHF756ฟรังก์สวิส
  • ลิกเตนสไตน์
  • สวิตเซอร์แลนด์
CLP$152เปโซชิลี
  • ชิลี
CNY¥156หยวน
  • จีน
COP$170เปโซโคลอมเบีย
  • โคลอมเบีย
CRC188โกลอนคอสตาริกา
  • คอสตาริกา
CUP$192เปโซคิวบา
  • คิวบา
CVE$132อิชกูดูกาบูเวร์ดี
  • กาบูเวร์ดี
CZK203โครูนาเช็ก
  • สาธารณรัฐเช็ก
DJF262ฟรังก์จิบูตี
  • จิบูตี
DKKkr208โครนเดนมาร์ก
  • เดนมาร์ก
DOP$214เปโซโดมินิกา
  • สาธารณรัฐโดมินิกัน
DZDد.ج012ดีนาร์แอลจีเรีย
  • แอลจีเรีย
EGP£818ปอนด์อียิปต์
  • อียิปต์
ERNNfk232นัฟกา
  • เอริเทรีย
ETB230เบอร์เอธิโอเปีย
  • เอธิโอเปีย
EUR978ยูโร
  • แอโครเทียรีและดิเคเลีย
  • อันดอร์รา
  • ออสเตรีย
  • เบลเยี่ยม
  • ไซปรัส
  • เอสโตเนีย
  • ฟินแลนด์
  • ฝรั่งเศส
  • เยอรมนี
  • กรีซ
  • ไอร์แลนด์
  • อิตาลี
  • คอซอวอ
  • ลัตเวีย
  • ลิทัวเนีย
  • ลักเซมเบิร์ก
  • มอลตา
  • โมนาโก
  • มอนเตเนโกร
  • เนเธอร์แลนด์
  • โปรตุเกส
  • ซานมารีโน
  • สโลวาเกีย
  • สโววีเนีย
  • สเปน
  • วาติกัน
FJD$242ดอลลาร์ฟิจิ
  • ฟิจิ
FKP£238ปอนด์หมู่เกาะฟอล์กแลนด์
  • หมู่เกาะฟอล์กแลนด์
GBP£826ปอนด์สเตอร์ลิง
  • อัลเดอร์นีย์
  • บริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรี
  • เกรท บริเตน
  • เกาะแมน
GEL981ลารี
  • จอร์เจีย
  • เซาท์ออสซีเชีย
GHS936ซีดี
  • กานา
GIP£292ปอนด์ยิบรอลตาร์
  • ยิบรอลตาร์
GMDD270ดาราซี
  • แกมเบีย
GNF324ฟรังก์กินี
  • กินี
GTQQ320เกตซัล
  • กัวเตมาลา
GYD$328ดอลลาร์กายอานา
  • กายอานา
HKD$344ดอลลาร์ฮ่องกง
  • ฮ่องกง
HNLL340เลมปิรา
  • ฮอนดูรัส
HRKKn191คูนาโครเอเชีย
  • โครเอเชีย
HTGG332กูร์ด
  • เฮติ
HUFFt348โฟรินต์
  • ฮังการี
IDRRp360รูเปียห์
  • อินโดนีเซีย
ILS376เชเกลอิสราเอลใหม่
  • อิสราเอล
  • ปาเลสไตน์
INR356รูปีอินเดีย
  • ภูฏาน
  • อินเดีย
IQDع.د368ดินาร์อิรัก
  • อิรัก
IRR364เรียลอิหร่าน
  • อิหร่าน
ISKKr352โครนาไอซ์แลนด์
  • ไอซ์แลนด์
JMD$388ดอลลาร์จาเมกา
  • จาเมกา
JODد.ا400ดีนาร์จอร์แดน
  • จอร์แดน
JPY¥392เยน
  • ญี่ปุ่น
KESSh404ชิลลิงเคนยา
  • เคนยา
KGS417ซอม
  • คีร์กีซสถาน
KHR116เรียล
  • กัมพูชา
KPW408วอนเกาหลีเหนือ
  • เกาหลีเหนือ
KRW410วอนเกาหลีใต้
  • เกาหลีใต้
KWDد.ك414ดีนาร์คูเวต
  • คูเวต
KYD$136ดอลลาร์หมู่เกาะเคย์แมน
  • หมู่เกาะเคย์แมน
KZT398เตงเก
  • คาซัคสถาน
LAK418กีบ
  • ลาว
LBPل.ل422ปอนด์เลบานอน
  • เลบานอน
LKRRs144ศรีลังการูปี
  • ศรีลังกา
LRD$430ดอลลาร์ไลบีเรีย
  • ไลบีเรีย
LSLL426โลตี
  • เลโซโท
LYDل.د434ดีนาร์ลิเบีย
  • ลิเบีย
MADد.م.504ดีร์แฮมโมร็อกโก
  • โมร็อกโก
MDLL498ลิวมอลโดวา
  • มอลโดวา
MGA969อารีอารีมาดากัสการ์
  • มาดากัสการ์
MKDден807ดีนาร์
  • มาซิโดเนีย
MMKK104จัต
  • พม่า
MNT496ทูกรุก
  • มองโกเลีย
MOPP446ปาตากา
  • มาเก๊า
MROUM478อกียะฮ์
  • มอริเตเนีย
MUR480รูปีมอริเชียส
  • มอริเชียส
MVRރ.462รูฟียาห์
  • มัลดีฟส์
MWKMK454กวาจา
  • มาลาวี
MXN$484เปโซเม็กซิโก
  • เม็กซิโก
MYRRM458ริงกิตมาเลเซีย
  • มาเลเซีย
MZNMTn943เมตีกาล
  • โมซัมบิก
NAD$516ดอลลาร์นามิเบีย
  • นามิเบีย
NGN566ไนรา
  • ไนจีเรีย
NIOC$558กอร์โกบา
  • นิการากัว
NOKkr578โครนนอร์เวย์
  • นอร์เวย์
NPR524รูปีเนปาล
  • เนปาล
NZD$554ดอลลาร์นิวซีแลนด์
  • เกาะคุก
  • นิวซีแลนด์
  • นีอูเอ
  • หมู่เกาะพิตแคร์น
OMRر.ع.512เรียลโอมาน
  • โอมาน
PABB/.590บัลโบอา
  • ปานามา
PENS/.604นูเอโวซอล
  • เปรู
PGKK598คีนา
  • ปาปัวนิวกินี
PHP608เปโซฟิลิปปินส์
  • ฟิลิปปินส์
PKR586ปากีสถานรูปี
  • ปากีสถาน
PLN985ซโวตี
  • โปแลนด์
PYG600กวารานี
  • ปารากวัย
QARر.ق634ริยาลกาตาร์
  • กาตาร์
RONL946เลอู
  • โรมาเนีย
RSDdin941ดีนาร์เซอร์เบีย
  • คอซอวอ
  • เซอร์เบีย
RUBр.643รูเบิลรัสเซีย
  • รัสเซีย
  • เซาท์ออสซีเชีย
RWF646ฟรังก์รวันดา
  • รวันดา
SARر.س682ริยาลซาอุดีอาระเบีย
  • ซาอุดีอาระเบีย
SBD$090ดอลลาร์หมู่เกาะโซโลมอน
  • หมู่เกาะโซโลมอน
SCR690รูปีเซเชลส์
  • เซเชลส์
SDG£938ปอนด์ซูดาน
  • ซูดาน
SEKkr752โครนาสวีเดน
  • สวีเดน
SGD$702ดอลลาร์สิงคโปร์
  • บรูไน
  • สิงคโปร์
SHP£654ปอนด์เซนต์เฮเลนา
  • เกาะอัสเซนชัน
  • เซนต์เฮเลนา
  • ตริสตันดากูนยา
SLLLe694ลีโอน
  • เซียร์ราลีโอน
SOSSh706ชิลลิงโซมาเลีย
  • โซมาเลีย
SRD$968ดอลลาร์ซูรินาม
  • ซูรินาม
STDDb678โดบรา
  • เซาตูเมและปรินซิปี
SYPل.س760ปอนด์ซีเรีย
  • ปอนด์ซีเรีย
SZLL748ลีลังเกนี
  • สวาซิแลนด์
THB฿764บาท
  • ไทย
TJSЅМ972โซโมนี
  • ทาจิกิสถาน
TMTm934มานัต
  • เติร์กเมนิสถาน
TNDد.ت788ดีนาร์ตูนิเซีย
  • ตูนิเซีย
TOPT$776ปาอางา
  • ตองกา
TRY949ลีราใหม่ตุรกี
  • ไซปรัสเหนือ
  • ตุรกี
TTD$780ดอลลาร์ตรินิแดดและโตเบโก
  • ตรินิแดดและโตเบโก
TWD$901ดอลลาร์ไต้หวัน
  • ไต้หวัน
TZSSh834ชิลลิงแทนซาเนีย
  • แทนซาเนีย
UAH980ฮริฟเนีย
  • ยูเครน
UGXSh800ชิลลิงยูกันดา
  • ยูกันดา
USD$840ดอลลาร์สหรัฐ
  • อเมริกันซามัว
  • บริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรี
  • หมู่เกาะบริติชเวอร์จิน
  • กวม
  • เฮติ
  • หมู่เกาะมาร์แชลล์
  • ไมโครนีเซีย
  • หมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา
  • เกาะเล็กรอบนอกของสหรัฐอเมริกา
  • ปาเลา
  • ปานามา
  • เปอร์โตริโก
  • หมู่เกาะเติร์กและหมู่เกาะเคคอส
  • สหรัฐอเมริกา
  • หมู่เกาะเวอร์จิน
UYU$858เปโซอุรุกวัย
  • อุรุกวัย
UZS860ซอมอุซเบกิสถาน
  • อุซเบกิสถาน
VEFBs F937โบลีวาร์เวเนซุเอลา
  • เวเนซุเอลา
VND704ด่ง
  • เวียดนาม
VUVVt548วาตู
  • วานูอาตุ
WSTT882ตาลา
  • ซามัว
XAF950ฟรังก์ซีเอฟเอแอฟริกาตะวันตก
  • เบนิน
  • บูร์กินาฟาโซ
  • แคเมอรูน
  • สาธารณรัฐแอฟริกากลาง
  • ชาด
  • คองโก
  • โกตดิวัวร์
  • อิเควทอเรียลกินี
  • กาบอง
  • กินี-บิสเซา
  • มาลี
  • ไนเจอร์
  • เซเนกัล
  • โตโก
XCD$951ดอลลาร์แคริบเบียนตะวันออก
  • แองกวิลลา
  • แอนติกาและบาร์บูดา
  • โดมินิกา
  • เกรนาดา
  • มอนต์เซอร์รัต
  • เซนต์คิตส์และเนวิส
  • เซนต์ลูเซีย
  • เซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์
XPF953ฟรังก์ซีเอฟพี
  • เฟรนช์โปลินีเซีย
  • นิวแคลิโดเนีย
  • วาลลิสและฟุตูนา
YER886เรียลเยเมน
  • เยเมน
ZARR710แรนด์
  • เลโซโท
  • นามิเบีย
  • แอฟริกาใต้
ZMWZK967ควาซาแซมเบีย
  • แซมเบีย
ZWL$932ดอลลาร์ซิมบับเว
  • ซิมบับเว
สกุลเงิน – รหัสตัวอักษร 3 ตัว สำหรับ สกุลเงิน ที่สร้างขึ้นจากมาตรฐาน ISO 4217 รหัสตัวอักษรถูกใช้ในการทำธุรกรรมทางธนาคารระหว่างประเทศ การลงทุน และการเขียนข้อความอย่างย่อด้วยสัญลักษณ์ของจำนวนเงิน
สัญลักษณ์ – สัญลักษณ์ภาพทั่วโลก ถูกใช้ในการเขียนข้อความอย่างย่อด้วยสัญลักษณ์ของชื่อสกุลเงินด้วยจำนวนเงิน
รหัสตัวเลข – รหัสตัวเลข 3 ตัว สำหรับสกุลเงิน ได้กำหนดตามมาตรฐานตัวเลขของ ISO 3166-1 โดยปกติแล้ว รหัสตัวเลขของสกุลเงิน จะจับคู่กันกับรหัสประเทศ รหัสตัวเลขได้ถูกพัฒนาขึ้นมาเป็น ตัวอักษร ที่ไม่ใช่ลาติน (non-latin alphabets) เพื่อตอบสนองความต้องการ ให้กับประเทศต่าง ๆ
ชื่อ – ชื่อทางการของสกุลเงิน
ประเทศ – ประเทศของสกุลเงิน และรูปภาพของธงประจำประเทศ

ที่มา : https://justforex.com/th/education/currencies
        : www.royin.go.th/?knowledges=ชื่อสกุลเงินตราต่างประe

22 ความคิดเห็น:

  1. การจัดการเงินธุรกิจระหว่างประเทศเป็นผู้จัดการทางการเงินต้องตัดสินใจเกี่ยวกับการจัดสรรเงินทุน โครงสร้างเงินทุนการบริหารเงินหมุนเวียนนโยบายเงินปันผล และการจัดหาเงินทุนซึ่งอาจจัดหาจากตลาดการเงินในประเทศหรือตลาดการเงินระหว่างประเทศเเม้ว่าธุรกิจที่ดำเนินอยู่จะมีขอบข่ายเป็นเพียงการค้าในประเทศก็ตาม สกุลเงินตราต่างประเทศ คือหน่วยของเงินตราที่ใช้ในการเเลกเปลี่ยนระหว่างประเทศ เเละนอกจากนี้ยังมีเงินกู้ธนาคารระหว่างประเทศซึ่งเป็นเงินกู้ธนาคารที่ให้เเก่บริษัทข้ามชาติเป็นต้น (นางสาวพรสวรรค์ หาสุข เลขที่36)

    ตอบลบ
  2. การจัดการเงินธุรกิจระหว่างประเทศเป็นผู้จัดการทางการเงินต้องตัดสินใจเกี่ยวกับการจัดสรรเงินทุน โครงสร้างเงินทุนการบริหารเงินหมุนเวียนนโยบายเงินปันผล และการจัดหาเงินทุนซึ่งอาจจัดหาจากตลาดการเงินในประเทศหรือตลาดการเงินระหว่างประเทศเเม้ว่าธุรกิจที่ดำเนินอยู่จะมีขอบข่ายเป็นเพียงการค้าในประเทศก็ตาม สกุลเงินตราต่างประเทศ คือหน่วยของเงินตราที่ใช้ในการเเลกเปลี่ยนระหว่างประเทศ เเละนอกจากนี้ยังมีเงินกู้ธนาคารระหว่างประเทศซึ่งเป็นเงินกู้ธนาคารที่ให้เเก่บริษัทข้ามชาติเป็นต้น (นางสาวพรสวรรค์ หาสุข เลขที่36)

    ตอบลบ
  3. นางสาวมะลิสา สิริรจน์ เลขที่16 จันทร์-เช้า
    การเงินระหว่างประเทศ

    การเงินระหว่างประเทศ เป็นการแสดงความสัมพันธ์ทางด้านการเงินระหว่างประเทศหนึ่งกับอีกประเทศหนึ่งซึ่งความสัมพันธ์นี้สืบเนื่องมาจากการค้าขายระหว่างประเทศ การกู้ยืมเงินและการชำระหนี้ การลงทุนระหว่างประเทศ และการช่วยเหลือกันระหว่างประเทศ
    การแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ คือ การนำเงินตราสกุลหนึ่งไปแลกเปลี่ยนกับอีกสกุลหนึ่ง
    ปัจจุบันประเทศไทยกำหนดการแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศเป็นแบบ “ลอยตัว” ชนิดมีการจัดการจะใช้อุปสงค์และอุปทานของเงินตราเป็นตัวกำหนดอัตราแลกเปลี่ยน ซึ่งขึ้นอยู่กับสถาบันการเงินที่ทำการแลกเปลี่ยนเงินตรา แต่อยู่ในความดูแลของธนาคารกลาง

    ตอบลบ
  4. การค้าระหว่างประเทศ ส่งผลทำให้แต่ละประเทศจำเป็นต้องกำหนดระบบการเงินของประเทศตนเองให้สอดคล้องกับอารยประเทศ และเพื่อให้การค้าระหว่างประเทศสามารถดำเนินไปได้อย่างสะดวกราบรื่น จึงก่อให้เกิดตลาดการเงินระหว่างประเทศขึ้นเพื่อเอื้ออำนวยความสะดวกในด้านต่างๆ ซึ่งตลาดการเงินระหว่างประเทศสามารถจำแนกออกได้เป็น 2 ตลาด คือตลาดเงินและตลาดทุนระหว่างประเทศ
    น.ส.อัจฉราภรณ์ จองอยู๋ เลขที่19 กลุ่มเรียนจันทร์-เช้า

    ตอบลบ
  5. ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ

    ตอบลบ
  6. 5.2 การเงินระหว่างประเทศ
    การเงินระหว่างประเทศ

    การเงินระหว่างประเทศเกิดขึ้นเนื่องจากระบบเศรษฐกิจของประเทศต่างๆ เป็นระบบเศรษฐกิจแบบเปิดทำให้เกิดการค้าระหว่างประเทศขึ้น ส่งผลทำให้แต่ละประเทศจำเป็นต้องกำหนดระบบการเงินของประเทศตนเองให้สอดคล้องกับอารยประเทศ และเพื่อให้การค้าระหว่างประเทศสามารถดำเนินไปได้อย่างสะดวกราบรื่น จึงก่อให้เกิดตลาดการเงินระหว่างประเทศขึ้นเพื่อเอื้ออำนวยความสะดวกในด้านต่างๆ ซึ่งตลาดการเงินระหว่างประเทศสามารถจำแนกออกได้เป็น 2 ตลาด คือตลาดเงินและตลาดทุนระหว่างประเทศ นอกจากจะมีตลาดการเงินระหว่างประเทศแล้ว ยังได้มีการจัดตั้งสถาบันการเงินระหว่างประเทศ ซึ่งสถาบันการเงินระหว่างประเทศมีความแตกต่างจากสถาบันการเงินภายในประเทศ คือ สถาบันการเงินเหล่านี้จะทำหน้าที่ ได้ด้านการให้ความช่วยเหลือและสนับสนุนแก่กลุ่มประเทศที่กำลังพัฒนาหรือประเทศที่กำลังประสบปัญหาทางเศรษฐกิจเป็นสำคัญ
    นางสาวกัญญารัตน์ ศรีคุณ เลขที่1 กลุ่มเรียนวันจันทร์-เช้า

    ตอบลบ
  7. การเงินระหว่างประเทศ เป็นการแสดงความสัมพันธ์ทางด้านการเงินระหว่างประเทศหนึ่งกับอีกประเทศหนึ่งซึ่งความสัมพันธ์นี้สืบเนื่องมาจากการค้าขายระหว่างประเทศ การกู้ยืมเงินและการชำระหนี้ การลงทุนระหว่างประเทศ และการช่วยเหลือกันระหว่างประเทศ
    น.ส.นภัสวรรณ พิศเพ็ง เลขที่22 กลุ่มเรียนจันทร์เช้า

    ตอบลบ
  8. การเงินระหว่างประเทศ
    การเงินระหว่างประเทศ

    การเงินระหว่างประเทศเกิดขึ้นเนื่องจากระบบเศรษฐกิจของประเทศต่างๆ เป็นระบบเศรษฐกิจแบบเปิดทำให้เกิดการค้าระหว่างประเทศขึ้น ส่งผลทำให้แต่ละประเทศจำเป็นต้องกำหนดระบบการเงินของประเทศตนเองให้สอดคล้องกับอารยประเทศ และเพื่อให้การค้าระหว่างประเทศสามารถดำเนินไปได้อย่างสะดวกราบรื่น จึงก่อให้เกิดตลาดการเงินระหว่างประเทศขึ้นเพื่อเอื้ออำนวยความสะดวกในด้านต่างๆ ซึ่งตลาดการเงินระหว่างประเทศสามารถจำแนกออกได้เป็น 2 ตลาด คือตลาดเงินและตลาดทุนระหว่างประเทศ นอกจากจะมีตลาดการเงินระหว่างประเทศแล้ว ยังได้มีการจัดตั้งสถาบันการเงินระหว่างประเทศ ซึ่งสถาบันการเงินระหว่างประเทศมีความแตกต่างจากสถาบันการเงินภายในประเทศ คือ สถาบันการเงินเหล่านี้จะทำหน้าที่ ได้ด้านการให้ความช่วยเหลือและสนับสนุนแก่กลุ่มประเทศที่กำลังพัฒนาหรือประเทศที่กำลังประสบปัญหาทางเศรษฐกิจเป็นสำคัญ
    นายนิกร เสาเเบน เลขที่34 กลุ่มเรียนวันจันทร์-เช้า

    ตอบลบ
  9. ตลาดการเงินระหว่างประเทศ
    ตลาดการเงินได้แบ่งแยกออกเป็น 2 ตลาด คือตลาดเงินและตลาดทุน ตลาดการเงินระหว่างประเทศก็มีลักษณะเช่นเดียวกันคือ แบ่งแยกออกเป็น 2 ตลาดคือตลาดเงินระหว่างประเทศและตลาดทุนระหว่างประเทศ
    นางสาวอรุณรุ่ง เมืองนา เลขที่21กลุ่มเรียนวันจันทร์-เช้า

    ตอบลบ
  10. การหาเงินระหว่างประเทศจะเป็นระบบเศรษฐกิจ เพื่อการค้าระหว่างประเทศจะทำให้สะดวกในการดำเนินงานต่างๆตลาดแบ่งออกเป็น 2 ตลาด คือ ตลาดเงินและตลาดทุนระหว่างประเทศ ตลาดการเงินได้พัฒนารูปแบบสินค้าใหม่ๆและมีความหลากหลายระยะเวลาในการลงทุนสภาพคล่อง เงื่อนไขในการถอน ผู้ออกตราสารรวมทั้งสกุลเงินแบ่งออกได้ 4 ประเภท
    1.ตราสารทุน
    2.ตราสารหนี้
    3.ตรากึ่งหนี้ทุน
    4.ตราสารอนุพันธ์ตลาดการเงินแบ่งได้ 2 ตลาด 1.ตลาดการเงิน
    2.ตลาดทุน
    นางสาวอมรรัตน์ เรืองสุขสุด เลขที่20 กลุ่มเรียนจันทร์เช้า

    ตอบลบ
  11. การเงินระหว่างประเทศเกิดขึ้นเนื่องจากระบบเศรษฐกิจของประเทศต่างๆ เป็นระบบเศรษฐกิจแบบเปิดทำให้เกิดการค้าระหว่างประเทศขึ้น ส่งผลทำให้แต่ละประเทศจำเป็นต้องกำหนดระบบการเงินของประเทศตนเองให้สอดคล้องกับอารยประเทศ และเพื่อให้การค้าระหว่างประเทศสามารถดำเนินไปได้อย่างสะดวกราบรื่น จึงก่อให้เกิดตลาดการเงินระหว่างประเทศขึ้นเพื่อเอื้ออำนวยความสะดวกในด้านต่างๆ ซึ่งตลาดการเงินระหว่างประเทศสามารถจำแนกออกได้เป็น 2 ตลาด คือตลาดเงินและตลาดทุนระหว่างประเทศ
    ดุลการชำระเงินระหว่างประเทศ (1) ดุลบัญชีเดินสะพัด (1.1) ดุลการค้า (1.2) ดุลบริการ (2) ดุลการเคลื่อนย้ายเงินทุน (3) ดูเงินโอน / ดุลเงินบริจาค (4) ดุลเงินทุนสำรองทางราชการ
    ตราสารทางการเงินในตลาดระหว่างประเทศ
    ในปัจจุบันตราสารทางการเงินในตลาดการเงินระหว่างประเทศ ได้มีการพัฒนารูปแบบของสินค้าใหม่ ๆและมีความหลากหลายมากขึ้น ทั้งในเรื่องของอัตราผลตอบแทน ความเสี่ยง ระยะเวลาในการลงทุน ระยะเวลาในการจ่ายผลตอบแทน สภาพคล่อง เงื่อนไขในการไถ่ถอน ผู้ออกตราสาร รวมทั้งสกุลเงินตราที่ใช้ในการลงทุน เป็นต้น สามารถแบ่งตามประเภทที่ออกได้ ดังนี้
    1.ตราสารทุน (Equity Instrument)ได้แก่ ตราสารหนี้ที่ออกโดยภาครัฐ และตราสารหนี้ที่ออกโดยภาคเอกชน
    2.ตราสารหนี้ (Debt instrument)ได้แก่ หุ้นกู้มีหลักประกันและหุ้นกู้ที่ไม่มีหลักประกัน หุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิและหุ้นกู้ด้อยสิทธิ
    3.ตราสารกึ่งหนี้กึ่งทุน (Hybrid instrument)ตราสารกึ่งหนี้กึ่งทุนเป็นตราสารทางการเงินที่ออกครั้งแรกเป็นตราสารหนี้ แต่มีเงื่อนไขให้ผู้ถือสามารถแปลงสภาพเป็นหุ้นสามัญหรือหุ้นบุริมสิทธิ
    4.ตราสารอนุพันธ์ เป็นเครื่องมือในการป้องกันความเสี่ยง หรือลดความเสี่ยงในอันที่จะทำให้ธุรกิจต้องเกิดความสูญเสียทางการเงินอันเกิดจากธุรกรรมทางการเงินระหว่างประเทศ ตราสารอนุพันธ์ประกอบด้วย 1.สัญญาฟอร์เวิร์ด 2.สัญญาฟิวเจอร์ 3.ตราสารสิทธิ 4.สัญญาแลกเปลี่ยน
    ตลาดการเงินระหว่างประเทศ แบ่งเป็น 2 ตลาด ตลาดเงินระหว่างประเทศและตลาดทุนระหว่างประเทศ
    อัตราแลกเปลี่ยน
    อัตราแลกเปลี่ยนส่งกระทบต่อราคาเปรียบเทียบของสินค้าในประเทศราคาเงินบาทของสินค้าจากสหรัฐอเมริกา สำหรับคนไทยกำหนดโดยปัจจัย 2 ประการคือ ราคาเงินดอลล่าร์ของสินค้าสหรัฐอเมริกาและอัตราแลกเปลี่ยน บาท/ดอลลาร์
    ระบบอัตราแลกเปลี่ยนในระบบการเงินระหว่างประเทศ
    ระบบอัตราแลกเปลี่ยนในระบบการเงินระหว่างประเทศ มีลักษณะพื้นฐาน 2 ประเภทคือระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบคงที่ และระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัว
    ระบบอัตราแลกเปลี่ยนลอยตัวแบบมีการจัดการ อัตราแลกเปลี่ยนจะถูกปล่อยให้เป็นการเปลี่ยนแปลงรายวันเพื่อตอบสนองความต้องการของตลาด

    นางสาวมยุรี ศรีชัย เลขที่32 กลุ่มเรียนวันจันทร์-เช้า

    ตอบลบ
  12. การเงินระหว่างประเทศ

    การเงินระหว่างประเทศเกิดขึ้นเนื่องจากระบบเศรษฐกิจของประเทศต่างๆ เป็นระบบเศรษฐกิจแบบเปิดทำให้เกิดการค้าระหว่างประเทศขึ้น ส่งผลทำให้แต่ละประเทศจำเป็นต้องกำหนดระบบการเงินของประเทศตนเองให้สอดคล้องกับอารยประเทศ และเพื่อให้การค้าระหว่างประเทศสามารถดำเนินไปได้อย่างสะดวกราบรื่น จึงก่อให้เกิดตลาดการเงินระหว่างประเทศขึ้นเพื่อเอื้ออำนวยความสะดวกในด้านต่างๆ ซึ่งตลาดการเงินระหว่างประเทศสามารถจำแนกออกได้เป็น 2 ตลาด คือตลาดเงินและตลาดทุนระหว่างประเทศ นอกจากจะมีตลาดการเงินระหว่างประเทศแล้ว ยังได้มีการจัดตั้งสถาบันการเงินระหว่างประเทศ ซึ่งสถาบันการเงินระหว่างประเทศมีความแตกต่างจากสถาบันการเงินภายในประเทศ คือ สถาบันการเงินเหล่านี้จะทำหน้าที่ ได้ด้านการให้ความช่วยเหลือและสนับสนุนแก่กลุ่มประเทศที่กำลังพัฒนาหรือประเทศที่กำลังประสบปัญหาทางเศรษฐกิจเป็นสำคัญ

    นางสาวกรรณิภา เพิ่มทรัพย์ เลขที่ 1 จันทร์-เช้า

    ตอบลบ
  13. การเงินระหว่างประเทศเกิดขึ้นเนื่องจากระบบเศรษฐกิจของประเทศต่างๆ เป็นระบบเศรษฐกิจแบบเปิดทำให้เกิดการค้าระหว่างประเทศขึ้น ส่งผลทำให้แต่ละประเทศจำเป็นต้องกำหนดระบบการเงินของประเทศตนเองให้สอดคล้องกับอารยประเทศ และเพื่อให้การค้าระหว่างประเทศสามารถดำเนินไปได้อย่างสะดวกราบรื่น จึงก่อให้เกิดตลาดการเงินระหว่างประเทศขึ้นเพื่อเอื้ออำนวยความสะดวกในด้านต่างๆ ซึ่งตลาดการเงินระหว่างประเทศสามารถจำแนกออกได้เป็น 2 ตลาด คือตลาดเงินและตลาดทุนระหว่างประเทศ
    ดุลการชำระเงินระหว่างประเทศ (1) ดุลบัญชีเดินสะพัด (1.1) ดุลการค้า (1.2) ดุลบริการ (2) ดุลการเคลื่อนย้ายเงินทุน (3) ดูเงินโอน / ดุลเงินบริจาค (4) ดุลเงินทุนสำรองทางราชการ
    ตราสารทางการเงินในตลาดระหว่างประเทศ
    ในปัจจุบันตราสารทางการเงินในตลาดการเงินระหว่างประเทศ ได้มีการพัฒนารูปแบบของสินค้าใหม่ ๆและมีความหลากหลายมากขึ้น ทั้งในเรื่องของอัตราผลตอบแทน ความเสี่ยง ระยะเวลาในการลงทุน ระยะเวลาในการจ่ายผลตอบแทน สภาพคล่อง เงื่อนไขในการไถ่ถอน ผู้ออกตราสาร รวมทั้งสกุลเงินตราที่ใช้ในการลงทุน เป็นต้น สามารถแบ่งตามประเภทที่ออกได้ ดังนี้
    1.ตราสารทุน (Equity Instrument)ได้แก่ ตราสารหนี้ที่ออกโดยภาครัฐ และตราสารหนี้ที่ออกโดยภาคเอกชน
    2.ตราสารหนี้ (Debt instrument)ได้แก่ หุ้นกู้มีหลักประกันและหุ้นกู้ที่ไม่มีหลักประกัน หุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิและหุ้นกู้ด้อยสิทธิ
    3.ตราสารกึ่งหนี้กึ่งทุน (Hybrid instrument)ตราสารกึ่งหนี้กึ่งทุนเป็นตราสารทางการเงินที่ออกครั้งแรกเป็นตราสารหนี้ แต่มีเงื่อนไขให้ผู้ถือสามารถแปลงสภาพเป็นหุ้นสามัญหรือหุ้นบุริมสิทธิ
    4.ตราสารอนุพันธ์ เป็นเครื่องมือในการป้องกันความเสี่ยง หรือลดความเสี่ยงในอันที่จะทำให้ธุรกิจต้องเกิดความสูญเสียทางการเงินอันเกิดจากธุรกรรมทางการเงินระหว่างประเทศ ตราสารอนุพันธ์ประกอบด้วย 1.สัญญาฟอร์เวิร์ด 2.สัญญาฟิวเจอร์ 3.ตราสารสิทธิ 4.สัญญาแลกเปลี่ยน
    ตลาดการเงินระหว่างประเทศ แบ่งเป็น 2 ตลาด ตลาดเงินระหว่างประเทศและตลาดทุนระหว่างประเทศ
    อัตราแลกเปลี่ยน
    อัตราแลกเปลี่ยนส่งกระทบต่อราคาเปรียบเทียบของสินค้าในประเทศราคาเงินบาทของสินค้าจากสหรัฐอเมริกา สำหรับคนไทยกำหนดโดยปัจจัย 2 ประการคือ ราคาเงินดอลล่าร์ของสินค้าสหรัฐอเมริกาและอัตราแลกเปลี่ยน บาท/ดอลลาร์
    ระบบอัตราแลกเปลี่ยนในระบบการเงินระหว่างประเทศ
    ระบบอัตราแลกเปลี่ยนในระบบการเงินระหว่างประเทศ มีลักษณะพื้นฐาน 2 ประเภทคือระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบคงที่ และระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัว
    ระบบอัตราแลกเปลี่ยนลอยตัวแบบมีการจัดการ อัตราแลกเปลี่ยนจะถูกปล่อยให้เป็นการเปลี่ยนแปลงรายวันเพื่อตอบสนองความต้องการของตลาด

    นางสาวแววพลอย คงชนะ เลขที่4

    ตอบลบ
  14. ตราสารทุนที่มีการซื้อขายกันในตลาดระหว่างประเทศประกอบด้วย 2 ประเภทที่สำคัญ ได้แก่
    1.หุ้นสามัญ (Common stocks) คือ ตราสารทุนที่แสดงสิทธิความเป็นเจ้าของกิจการ ผู้ถือหุ้นมีสิทธิในการออกเสียงเพื่อมีส่วนในการบริหารกิจการตามสัดส่วนหุ้นที่ถืออยู่ และได้รับผลตอบแทนในรูปของเงินปันผล ซึ่งเงินปันผลนี้กิจการจะจ่ายตามผลการดำเนินงานหรือผลกำไรที่ได้รับ หากปีใดกิจการมีกำไรมากก็จะจ่ายเงินปันผลมากและปีใดที่มีกำไรน้อยก็จ่ายเงินปันผลน้อย ถ้าขาดทุนก็ไม่จ่ายเงินปันผล ดังนั้นผลตอบแทนจากเงินปันผลจึงไม่แน่นอนขึ้นอยู่กับผลการดำเนินงานเป็นหลัก
    2.หุ้นบุริมสิทธิ (Preferred stocks) คือ ตราสารทุนคล้ายกับหุ้นสามัญ แต่ผู้ถือหุ้นบุริมสิทธิไม่มีสิทธิในการออกเสียงเพื่อบริหารกิจการ อย่างไรก็ตามผู้ถือหุ้นบุริมสิทธิจะได้รับเงินปันผลในอัตราคงที่ตามที่ระบุไว้และได้รับการจัดสรรเงินปันผลก่อนหุ้นสามัญ รวมทั้งได้รับสิทธิในการชำระคืนเงินทุนก่อนผู้ถือหุ้นสามัญในกรณีที่บริษัทเลิกกิจการ หุ้นประเภทนี้มีการซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ไม่มากนักเมื่อเทียบกับหุ้นสามัญ จึงมีสภาพคล่องค่อนข้างต่ำตราสารหนี้ที่ออกโดยภาครัฐ
    1.ตั๋วเงินคลัง (Treasury bill) เป็นตราสารหนี้ระยะสั้นที่ออกโดยรัฐบาลมีอายุการไถ่ถอนไม่เกิน 1 ปี เช่น 3 เดือน 6 เดือน เป็นต้น
    2.ตราสารหนี้ระยะกลางถึงระยะยาวที่ออกโดยรัฐบาลของประเทศต่างๆ เช่น พันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ พันธบัตรรัฐบาลอังกฤษ ซามูไรบอนด์ เป็นต้น
    3.พันธบัตรรัฐวิสาหกิจ (Agency bonds) เป็นตราสารหนี้ระยะกลางถึงระยะยาวที่ออกโดยรัฐวิสาหกิจ ส่วนใหญ่จะได้รับการค้ำประกันโดยรัฐบาลจึงถือว่ามีความเสี่ยงต่ำ การค้ำประกัน
    นางสาวนิภารัตน์ วังสันต์ เลขที่17 กลุ่มเรียนจันทร์-เช้า

    ตอบลบ
  15. งินตราเป็นสิ่งที่สำคัญในการดำเนินธุรกิจระหว่างประเทศ การแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศที่ถูกต้องนั้นต้องแลกที่ธนาคารพาณิชย์ ซึ่งมีการกำหนดอัตราแลกเปลี่ยนไว้ 2 อย่าง คือ

    อัตราซื้อ (Buying) คือ อัตราที่ธนาคารรับซื้อ (ราคาต่ำ)
    อัตราขาย (Selling) คือ อัตราที่ธนาคารขายไป (ราคาสูง)
    ซึ่งอัตราแลกเปลี่ยนทั้ง 2 ประเภท ธนาคารกลางเป็นผู้กำหนด โดยเทียบค่าเงินของตนกับทองคำหรือเงินตราสกุลอื่นๆ ภายใต้เงื่อนไขที่กองทุนการเงินระหว่างประเทศกำหนด

    ปัจจุบันประเทศไทยกำหนดการแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศเป็นแบบ “ลอยตัว” ชนิดมีการจัดการจะใช้อุปสงค์และอุปทานของเงินตราเป็นตัวกำหนดอัตราแลกเปลี่ยน ซึ่งขึ้นอยู่กับสถาบันการเงินที่ทำการแลกเปลี่ยนเงินตรา แต่อยู่ในความดูแลของธนาคารกลาง

    ค่าเงินแข็ง คือ เงินสกุลใดแข็งแสดงว่าเงินสกุลนั้นมีค่าสูงขึ้น เช่น เงินบาทแข็งค่า เดิม 1 ดอลลาร์ USเท่ากับ 40 บาท จะเป็น 1 ดอลลาร์ US เท่ากับ 38 บาท

    ค่าเงินอ่อน คือ เงินสกุลใดอ่อนแสดงว่าเงินสกุลนั้นมีค่าลดลง

    ดุลการชำระเงินระหว่างประเทศ (Balance of Payment) หมายถึง รายงานที่แสดงถึงยอดรายได้และรายจ่ายที่ประเทศได้รับหรือจ่ายให้แก่ต่างประเทศในระยะเวลา 1 ปี

    บัญชีต่างๆ ที่ใช้แสดงรายงานดุลการชำระเงินระหว่างประเทศมีอยู่ 3 บัญชี คือ

    บัญชีเดินสะพัด เป็นบัญชีแสดงรายรับและรายจ่ายเกี่ยวกับสินค้าเข้าและสินค้าออก หรือดุลการค้ารวมทั้งดุลบริการ และดุลบริจาค
    บัญชีทุนเคลื่อนย้าย เป็นบัญชีที่แสดงเกี่ยวกับการนำเงินทุนไปลงทุนระหว่างประเทศ
    บัญชีทุนสำรองระหว่างประเทศ เป็นบัญชีที่แสดงการเปลี่ยนแปลงของจำนวนเงินสำรอง ระหว่างประเทศในแต่ละปี
    ลักษณะของดุลการชำระเงินระหว่างประเทศ แบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ คือ

    ดุลการชำระเงินเกินดุล คือ รายรับสูงกว่ารายจ่าย (ทำให้เงินทุนสำรองเพิ่มขึ้น)
    ดุลการชำระเงินขาดดุล คือ รายรับต่ำกว่ารายจ่าย (ทำให้เงินทุนสำรองลดลง)
    ดุลการชำระเงินได้ดุล (สมดุล) คือ รายรับเท่ากับรายจ่าย (ทำให้เงินทุนสำรองไม่เปลี่ยน)
    น.ส พิจิตรา หอมเนียม เลขที่28 กลุ่มเรียน จันทร์-เช้า

    ตอบลบ
    คำตอบ
    1. 5.2
      การเงินระหว่างประเทศ

      การเงินระหว่างประเทศเกิดขึ้นเนื่องจากระบบเศรษฐกิจของประเทศต่างๆ เป็นระบบเศรษฐกิจแบบเปิดทำให้เกิดการค้าระหว่างประเทศขึ้น ส่งผลทำให้แต่ละประเทศจำเป็นต้องกำหนดระบบการเงินของประเทศตนเองให้สอดคล้องกับอารยประเทศ และเพื่อให้การค้าระหว่างประเทศสามารถดำเนินไปได้อย่างสะดวกราบรื่น จึงก่อให้เกิดตลาดการเงินระหว่างประเทศขึ้นเพื่อเอื้ออำนวยความสะดวกในด้านต่างๆ ซึ่งตลาดการเงินระหว่างประเทศสามารถจำแนกออกได้เป็น 2 ตลาด คือตลาดเงินและตลาดทุนระหว่างประเทศ นอกจากจะมีตลาดการเงินระหว่างประเทศแล้ว ยังได้มีการจัดตั้งสถาบันการเงินระหว่างประเทศ ซึ่งสถาบันการเงินระหว่างประเทศมีความแตกต่างจากสถาบันการเงินภายในประเทศ คือ สถาบันการเงินเหล่านี้จะทำหน้าที่ ได้ด้านการให้ความช่วยเหลือและสนับสนุนแก่กลุ่มประเทศที่กำลังพัฒนาหรือประเทศที่กำลังประสบปัญหาทางเศรษฐกิจเป็นสำคัญ( น.ส.วรวรรณ จันทรารักษ์ เลขที่3 )

      ลบ
  16. 5.2) การเงินระหว่างประเทศ
    การเงินระหว่างประเทศ

                การเงินระหว่างประเทศเกิดขึ้นเนื่องจากระบบเศรษฐกิจของประเทศต่างๆ เป็นระบบเศรษฐกิจแบบเปิดทำให้เกิดการค้าระหว่างประเทศ

    ดุลการชำระเงินระหว่างประเทศ

             ภายใต้ระบบเศรษฐกิจแบบเสรีหรือระบบเศรษฐกิจแบบเปิด อาศัยความเชี่ยวชาญและชำนาญการของแต่ละประเทศในการผลิตสินค้าและบริการ
    ดุลการชำระเงินระหว่างประเทศ หมายถึง มูลค่าสุทธิระหว่างการรับและการจ่าย ที่เกิดขึ้นเนื่องจากการดำเนินการทางเศรษฐกิจของหน่วยเศรษฐกิจในประเทศหนึ่งประเทศใด กับหน่วยเศรษฐกิจของต่างประเทศประเทศในช่วงระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง โดยปกติจะเป็นเวลาหนึ่งปี

    ตราสารทางการเงินระหว่างประเทศ

    ในปัจจุบันตราสารทางการเงินในตลาดการเงินระหว่างประเทศ ได้มีการพัฒนารูปแบบของสินค้าใหม่ ๆและมีความหลากหลายมากขึ้น ทั้งในเรื่องของอัตราผลตอบแทน ความเสี่ยง ระยะเวลาในการลงทุน ระยะเวลาในการจ่ายผลตอบแทน สภาพคล่อง เงื่อนไขในการไถ่ถอน ผู้ออกตราสาร รวมทั้งสกุลเงินตราที่ใช้ในการลงทุน เป็นต้น สามารถแบ่งตามประเภทที่ออกได้ ดังนี้
    1.ตราสารทุน (Equity Instrument)
    2.ตราสารหนี้ (Debt instrument)
    3.ตราสารกึ่งหนี้กึ่งทุน (Hybrid instrument)
    4.ตราสารอนุพันธ์

    ตลาดการเงินระหว่างประเทศ

    ตลาดการเงินได้แบ่งแยกออกเป็น 2 ตลาด คือตลาดเงินและตลาดทุน ตลาดการเงินระหว่างประเทศก็มีลักษณะเช่นเดียวกันคือ แบ่งแยกออกเป็น 2 ตลาดคือตลาดเงินระหว่างประเทศและตลาดทุนระหว่างประเทศ



    ความสำคัญของอัตราแลกเปลี่ยน
             อัตราแลกเปลี่ยนมีความสำคัญเพราะว่าอัตราแลกเปลี่ยนส่งกระทบต่อราคาเปรียบเทียบของสินค้าในประเทศราคาเงินบาทของสินค้าจากสหรัฐอเมริกา สำหรับคนไทยกำหนดโดยปัจจัย 2 ประการคือ ราคาเงินดอลล่าร์ของสินค้าสหรัฐอเมริกาและอัตราแลกเปลี่ยน  บาท/ดอลลาร์
    ระบบอัตราแลกเปลี่ยนในระบบการเงินระหว่างประเทศ
                ระบบอัตราแลกเปลี่ยนในระบบการเงินระหว่างประเทศ มีลักษณะพื้นฐาน 2 ประเภทคือระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบคงที่ (Fixed Exchange Rate Regime) และระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัว (Floating Exchange Rate Regim )

    สกุลเงินตรา

    สกุลเงิน – รหัสตัวอักษร 3 ตัว สำหรับ สกุลเงิน ที่สร้างขึ้นจากมาตรฐาน ISO 4217 รหัสตัวอักษรถูกใช้ในการทำธุรกรรมทางธนาคารระหว่างประเทศ การลงทุน และการเขียนข้อความอย่างย่อด้วยสัญลักษณ์ของจำนวนเงิน
    สัญลักษณ์ – สัญลักษณ์ภาพทั่วโลก ถูกใช้ในการเขียนข้อความอย่างย่อด้วยสัญลักษณ์ของชื่อสกุลเงินด้วยจำนวนเงิน
    รหัสตัวเลข – รหัสตัวเลข 3 ตัว สำหรับสกุลเงิน ได้กำหนดตามมาตรฐานตัวเลขของ ISO 3166-1 โดยปกติแล้ว รหัสตัวเลขของสกุลเงิน จะจับคู่กันกับรหัสประเทศ รหัสตัวเลขได้ถูกพัฒนาขึ้นมาเป็น ตัวอักษร ที่ไม่ใช่ลาติน (non-latin alphabets) เพื่อตอบสนองความต้องการ ให้กับประเทศต่าง ๆ
    ชื่อ – ชื่อทางการของสกุลเงิน
    ประเทศ – ประเทศของสกุลเงิน และรูปภาพของธงประจำประเทศ


    ชื่อ นิรมล พรรณา ( จันทร์-เช้า) เลขที่ 18

    ตอบลบ
  17. 5.2 การเงินระหว่างประเทศ

    ดุลการชำระเงิน
    ดุลการชำระเงินระหว่างประเทศ
    ดุลการชำระเงินระหว่างประเทศ หมายถึง มูลค่าสุทธิระหว่างการรับและการจ่าย ที่เกิดขึ้นเนื่องจากการดำเนินการทางเศรษฐกิจของหน่วยเศรษฐกิจในประเทศหนึ่งประเทศใด กับหน่วยเศรษฐกิจของต่างประเทศประเทศในช่วงระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง

    ตราสารทางการเงินในตลาดระหว่างประเทศ

    ในปัจจุบันตราสารทางการเงินในตลาดการเงินระหว่างประเทศ ได้มีการพัฒนารูปแบบของสินค้าใหม่ ๆและมีความหลากหลายมากขึ้น ทั้งในเรื่องของอัตราผลตอบแทน ความเสี่ยง ระยะเวลาในการลงทุน ระยะเวลาในการจ่ายผลตอบแทน สภาพคล่อง เงื่อนไขในการไถ่ถอน ผู้ออกตราสาร รวมทั้งสกุลเงินตราที่ใช้ในการลงทุน เป็นต้น สามารถแบ่งตามประเภทที่ออกได้ ดังนี้
    1.ตราสารทุน (Equity Instrument)
    2.ตราสารหนี้ (Debt instrument)
    3.ตราสารกึ่งหนี้กึ่งทุน (Hybrid instrument)
    4.ตราสารอนุพันธ์

    ตลาดการเงินระหว่างประเทศ
    ตลาดการเงินได้แบ่งแยกออกเป็น 2 ตลาด คือตลาดเงินและตลาดทุน ตลาดการเงินระหว่างประเทศก็มีลักษณะเช่นเดียวกันคือ แบ่งแยกออกเป็น 2 ตลาดคือตลาดเงินระหว่างประเทศและตลาดทุนระหว่างประเทศ
    ความสำคัญของอัตราแลกเปลี่ยน
    อัตราแลกเปลี่ยนมีความสำคัญเพราะว่าอัตราแลกเปลี่ยนส่งกระทบต่อราคาเปรียบเทียบของสินค้าในประเทศราคาเงินบาทของสินค้าจากสหรัฐอเมริกา สำหรับคนไทยกำหนดโดยปัจจัย 2 ประการคือ ราคาเงินดอลล่าร์ของสินค้าสหรัฐอเมริกาและอัตราแลกเปลี่ยน บาท/ดอลลาร์

    สกุลเงินตราที่ใช้ในปัจจุบัน
    ในการทำธุรกรรมทางธนาคารระหว่างประเทศ การลงทุน และการเขียนข้อความอย่างย่อด้วยสัญลักษณ์ของจำนวนเงิน
    สัญลักษณ์ – สัญลักษณ์ภาพทั่วโลก ถูกใช้ในการเขียนข้อความอย่างย่อด้วยสัญลักษณ์ของชื่อสกุลเงินด้วยจำนวนเงิน
    รหัสตัวเลข – รหัสตัวเลข 3 ตัว สำหรับสกุลเงิน ได้กำหนดตามมาตรฐานตัวเลขของ ISO 3166-1 โดยปกติแล้ว รหัสตัวเลขของสกุลเงิน จะจับคู่กันกับรหัสประเทศ รหัสตัวเลขได้ถูกพัฒนาขึ้นมาเป็น ตัวอักษร ที่ไม่ใช่ลาติน (non-latin alphabets) เพื่อตอบสนองความต้องการ ให้กับประเทศต่าง ๆ
    ชื่อ – ชื่อทางการของสกุลเงิน
    ประเทศ – ประเทศของสกุลเงิน และรูปภาพของธงประจำประเทศ


    ชื่อ นายคณิต ไชยบุตร (จันทร์-เช้า)เลขที่ 38 (กลุ่ม 5.3)






    ตอบลบ
  18. 5.2) การเงินระหว่างประเทศ
    การเงินระหว่างประเทศ

    การเงินระหว่างประเทศเกิดขึ้นเนื่องจากระบบเศรษฐกิจของประเทศต่างๆ เป็นระบบเศรษฐกิจแบบเปิดทำให้เกิดการค้าระหว่างประเทศ

    ดุลการชำระเงินระหว่างประเทศ

    ภายใต้ระบบเศรษฐกิจแบบเสรีหรือระบบเศรษฐกิจแบบเปิด อาศัยความเชี่ยวชาญและชำนาญการของแต่ละประเทศในการผลิตสินค้าและบริการ
    ดุลการชำระเงินระหว่างประเทศ หมายถึง มูลค่าสุทธิระหว่างการรับและการจ่าย ที่เกิดขึ้นเนื่องจากการดำเนินการทางเศรษฐกิจของหน่วยเศรษฐกิจในประเทศหนึ่งประเทศใด กับหน่วยเศรษฐกิจของต่างประเทศประเทศในช่วงระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง โดยปกติจะเป็นเวลาหนึ่งปี

    ตราสารทางการเงินระหว่างประเทศ

    ในปัจจุบันตราสารทางการเงินในตลาดการเงินระหว่างประเทศ ได้มีการพัฒนารูปแบบของสินค้าใหม่ ๆและมีความหลากหลายมากขึ้น ทั้งในเรื่องของอัตราผลตอบแทน ความเสี่ยง ระยะเวลาในการลงทุน ระยะเวลาในการจ่ายผลตอบแทน สภาพคล่อง เงื่อนไขในการไถ่ถอน ผู้ออกตราสาร รวมทั้งสกุลเงินตราที่ใช้ในการลงทุน เป็นต้น สามารถแบ่งตามประเภทที่ออกได้ ดังนี้
    1.ตราสารทุน (Equity Instrument)
    2.ตราสารหนี้ (Debt instrument)
    3.ตราสารกึ่งหนี้กึ่งทุน (Hybrid instrument)
    4.ตราสารอนุพันธ์

    ตลาดการเงินระหว่างประเทศ

    ตลาดการเงินได้แบ่งแยกออกเป็น 2 ตลาด คือตลาดเงินและตลาดทุน ตลาดการเงินระหว่างประเทศก็มีลักษณะเช่นเดียวกันคือ แบ่งแยกออกเป็น 2 ตลาดคือตลาดเงินระหว่างประเทศและตลาดทุนระหว่างประเทศ



    ความสำคัญของอัตราแลกเปลี่ยน
    อัตราแลกเปลี่ยนมีความสำคัญเพราะว่าอัตราแลกเปลี่ยนส่งกระทบต่อราคาเปรียบเทียบของสินค้าในประเทศราคาเงินบาทของสินค้าจากสหรัฐอเมริกา สำหรับคนไทยกำหนดโดยปัจจัย 2 ประการคือ ราคาเงินดอลล่าร์ของสินค้าสหรัฐอเมริกาและอัตราแลกเปลี่ยน บาท/ดอลลาร์
    ระบบอัตราแลกเปลี่ยนในระบบการเงินระหว่างประเทศ
    ระบบอัตราแลกเปลี่ยนในระบบการเงินระหว่างประเทศ มีลักษณะพื้นฐาน 2 ประเภทคือระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบคงที่ (Fixed Exchange Rate Regime) และระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัว (Floating Exchange Rate Regim )

    สกุลเงินตรา

    สกุลเงิน – รหัสตัวอักษร 3 ตัว สำหรับ สกุลเงิน ที่สร้างขึ้นจากมาตรฐาน ISO 4217 รหัสตัวอักษรถูกใช้ในการทำธุรกรรมทางธนาคารระหว่างประเทศ การลงทุน และการเขียนข้อความอย่างย่อด้วยสัญลักษณ์ของจำนวนเงิน
    สัญลักษณ์ – สัญลักษณ์ภาพทั่วโลก ถูกใช้ในการเขียนข้อความอย่างย่อด้วยสัญลักษณ์ของชื่อสกุลเงินด้วยจำนวนเงิน
    รหัสตัวเลข – รหัสตัวเลข 3 ตัว สำหรับสกุลเงิน ได้กำหนดตามมาตรฐานตัวเลขของ ISO 3166-1 โดยปกติแล้ว รหัสตัวเลขของสกุลเงิน จะจับคู่กันกับรหัสประเทศ รหัสตัวเลขได้ถูกพัฒนาขึ้นมาเป็น ตัวอักษร ที่ไม่ใช่ลาติน (non-latin alphabets) เพื่อตอบสนองความต้องการ ให้กับประเทศต่าง ๆ
    ชื่อ – ชื่อทางการของสกุลเงิน
    ประเทศ – ประเทศของสกุลเงิน และรูปภาพของธงประจำประเทศ
    ชื่อ นายกมลภพ พริ้งเพราะ เลขที่ 40 กลุ่มเรียน (จันทร์เช้า)

    ตอบลบ
  19. ( การเงินระหว่างประเทศ)
    การเงินระหว่างประเทศเกิดขึ้นเนื่องจากระบบเศรษฐกิจของประเทศต่างๆ เป็นระบบเศรษฐกิจแบบเปิดทำให้เกิดการค้าระหว่างประเทศขึ้น ส่งผลทำให้แต่ละประเทศจำเป็นต้องกำหนดระบบการเงินของประเทศตนเองให้สอดคล้องกับอารยประเทศ และเพื่อให้การค้าระหว่างประเทศสามารถดำเนินไปได้อย่างสะดวกราบรื่น จึงก่อให้เกิดตลาดการเงินระหว่างประเทศขึ้นเพื่อเอื้ออำนวยความสะดวกในด้านต่างๆ ซึ่งตลาดการเงินระหว่างประเทศสามารถจำแนกออกได้เป็น 2 ตลาด คือตลาดเงินและตลาดทุนระหว่างประเทศ นอกจากจะมีตลาดการเงินระหว่างประเทศแล้ว

    ดุลการชำระเงินระหว่างประเทศ
    ภายใต้ระบบเศรษฐกิจแบบเสรีหรือระบบเศรษฐกิจแบบเปิด อาศัยความเชี่ยวชาญและชำนาญการของแต่ละประเทศในการผลิตสินค้าและบริการ ซึ่งเป็นไปตามแนวทางความคิดของอดัมสมิธ การดำเนินการผลิตในลักษณะดังกล่าวทำให้เกิดระบบการค้าระหว่างประเทศขึ้น ทำให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาของแต่ละประเทศเป็นอันมาก กล่าวคือ ทำให้มีสินค้าและบริการที่จะใช้อุปโภคและบริโภคมากขึ้น ระบบการพัฒนาเศรษฐกิจของแต่ละประเทศมีการขยายตัวอย่างรวดเร็ว

    ตราสารทางการเงินในตลาดระหว่างประเทศ
    ในปัจจุบันตราสารทางการเงินในตลาดการเงินระหว่างประเทศ ได้มีการพัฒนารูปแบบของสินค้าใหม่ ๆและมีความหลากหลายมากขึ้น ทั้งในเรื่องของอัตราผลตอบแทน ความเสี่ยง ระยะเวลาในการลงทุน ระยะเวลาในการจ่ายผลตอบแทน สภาพคล่อง เงื่อนไขในการไถ่ถอน ผู้ออกตราสาร รวมทั้งสกุลเงินตราที่ใช้ในการลงทุน เป็นต้น สามารถแบ่งตามประเภทที่ออกได้ ดังนี้
    1.ตราสารทุน (Equity Instrument)
    2.ตราสารหนี้ (Debt instrument)
    3.ตราสารกึ่งหนี้กึ่งทุน (Hybrid instrument)
    4.ตราสารอนุพันธ์

    ระบบอัตราแลกเปลี่ยนลอยตัวแบบมีการจัดการ (Managed Float)
    ถึงแม้ว่าปัจจุบัน อัตราแลกเปลี่ยนจะถูกปล่อยให้เป็นการเปลี่ยนแปลงรายวันเพื่อตอบสนองความต้องการของตลาด แต่ธนาคารกลางหลายแห่งยังคงใช้ทางเลือกที่จะเข้ามาแทรกแซงตลาด

    นางสางชุติมา อินทร์ชื่น เลขที่ 31(จันทร์-เช้า)

    ตอบลบ
  20. 5.2
    การเงินระหว่างประเทศ
    การเงินระหว่างประเทศ

    การเงินระหว่างประเทศเกิดขึ้นเนื่องจากระบบเศรษฐกิจของประเทศต่างๆ เป็นระบบเศรษฐกิจแบบเปิดทำให้เกิดการค้าระหว่างประเทศ

    ดุลการชำระเงินระหว่างประเทศ

    ภายใต้ระบบเศรษฐกิจแบบเสรีหรือระบบเศรษฐกิจแบบเปิด อาศัยความเชี่ยวชาญและชำนาญการของแต่ละประเทศในการผลิตสินค้าและบริการ
    ดุลการชำระเงินระหว่างประเทศ หมายถึง มูลค่าสุทธิระหว่างการรับและการจ่าย ที่เกิดขึ้นเนื่องจากการดำเนินการทางเศรษฐกิจของหน่วยเศรษฐกิจในประเทศหนึ่งประเทศใด กับหน่วยเศรษฐกิจของต่างประเทศประเทศในช่วงระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง โดยปกติจะเป็นเวลาหนึ่งปี

    ตราสารทางการเงินระหว่างประเทศ

    ในปัจจุบันตราสารทางการเงินในตลาดการเงินระหว่างประเทศ ได้มีการพัฒนารูปแบบของสินค้าใหม่ ๆและมีความหลากหลายมากขึ้น ทั้งในเรื่องของอัตราผลตอบแทน ความเสี่ยง ระยะเวลาในการลงทุน ระยะเวลาในการจ่ายผลตอบแทน สภาพคล่อง เงื่อนไขในการไถ่ถอน ผู้ออกตราสาร รวมทั้งสกุลเงินตราที่ใช้ในการลงทุน เป็นต้น สามารถแบ่งตามประเภทที่ออกได้ ดังนี้
    1.ตราสารทุน (Equity Instrument)
    2.ตราสารหนี้ (Debt instrument)
    3.ตราสารกึ่งหนี้กึ่งทุน (Hybrid instrument)
    4.ตราสารอนุพันธ์

    ตลาดการเงินระหว่างประเทศ

    ตลาดการเงินได้แบ่งแยกออกเป็น 2 ตลาด คือตลาดเงินและตลาดทุน ตลาดการเงินระหว่างประเทศก็มีลักษณะเช่นเดียวกันคือ แบ่งแยกออกเป็น 2 ตลาดคือตลาดเงินระหว่างประเทศและตลาดทุนระหว่างประเทศ
    น.ส ศิริญา สุทธิรัตน์ เลขที่ 37 (จันทร์ เช้า)

    ตอบลบ

  21. ( การเงินระหว่างประเทศ)
    การเงินระหว่างประเทศเกิดขึ้นเนื่องจากระบบเศรษฐกิจของประเทศต่างๆ เป็นระบบเศรษฐกิจแบบเปิดทำให้เกิดการค้าระหว่างประเทศขึ้น ส่งผลทำให้แต่ละประเทศจำเป็นต้องกำหนดระบบการเงินของประเทศตนเองให้สอดคล้องกับอารยประเทศ และเพื่อให้การค้าระหว่างประเทศสามารถดำเนินไปได้อย่างสะดวกราบรื่น จึงก่อให้เกิดตลาดการเงินระหว่างประเทศขึ้นเพื่อเอื้ออำนวยความสะดวกในด้านต่างๆ ซึ่งตลาดการเงินระหว่างประเทศสามารถจำแนกออกได้เป็น 2 ตลาด คือตลาดเงินและตลาดทุนระหว่างประเทศ นอกจากจะมีตลาดการเงินระหว่างประเทศแล้ว

    ดุลการชำระเงินระหว่างประเทศ
    ภายใต้ระบบเศรษฐกิจแบบเสรีหรือระบบเศรษฐกิจแบบเปิด อาศัยความเชี่ยวชาญและชำนาญการของแต่ละประเทศในการผลิตสินค้าและบริการ ซึ่งเป็นไปตามแนวทางความคิดของอดัมสมิธ การดำเนินการผลิตในลักษณะดังกล่าวทำให้เกิดระบบการค้าระหว่างประเทศขึ้น ทำให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาของแต่ละประเทศเป็นอันมาก กล่าวคือ ทำให้มีสินค้าและบริการที่จะใช้อุปโภคและบริโภคมากขึ้น ระบบการพัฒนาเศรษฐกิจของแต่ละประเทศมีการขยายตัวอย่างรวดเร็ว

    ตราสารทางการเงินในตลาดระหว่างประเทศ
    ในปัจจุบันตราสารทางการเงินในตลาดการเงินระหว่างประเทศ ได้มีการพัฒนารูปแบบของสินค้าใหม่ ๆและมีความหลากหลายมากขึ้น ทั้งในเรื่องของอัตราผลตอบแทน ความเสี่ยง ระยะเวลาในการลงทุน ระยะเวลาในการจ่ายผลตอบแทน สภาพคล่อง เงื่อนไขในการไถ่ถอน ผู้ออกตราสาร รวมทั้งสกุลเงินตราที่ใช้ในการลงทุน เป็นต้น สามารถแบ่งตามประเภทที่ออกได้ ดังนี้
    1.ตราสารทุน (Equity Instrument)
    2.ตราสารหนี้ (Debt instrument)
    3.ตราสารกึ่งหนี้กึ่งทุน (Hybrid instrument)
    4.ตราสารอนุพันธ์
    น.ส กฤษติกา เปรียบดีสุด เลขที่7

    ตอบลบ